CLUCKING HELL! MIGRANT WORKERS SUE OVER CONDITIONS IN THAI CHICKEN FARM

Fourteen migrant workers are suing Thailand’s food and animal feed producer Betagro for US$1.33 million for their mistreatment at a chicken farm in Lopburi Province.

BetagroThe workers claims among things that they were abused by management, locked up and allowed out only two hours a week, and even forced to sleep with the hatchlings.
I have been following this case from a distance. It’s one taken up by Andy Hall of the Migrant Worker’s Rights Network and has made the international press to a limited extent, ie, such as Britain’s Guardian newspaper and ABC Australia.
This is just one other case to add to a long list which includes, the trafficking and injudicial killying of Rohingya minority of Burma, slavery in the fishing industry and slavery in the pineapple industry, the latter which Andy Hall is being sued over by Natural Fruit.

In the Lopburi case local police conspired with the local farm owner who was contracted to Betagro. They made arrests of migrant workers who borrowed their time cards to show to human rights workers!

Betagro have ended their contract with the farm.
A lot of people are wondering how Thailand managed to convince the US State Department that it had improved its human rights situation or indeed how such things could happen in a country known for its wlecoming smile and hospitality.

Nobody seems to be hiding their light under a bushel here!

Here follows the text in English and Thai of today’s statement:

Thai Poultry Export Giant Betagro Prosecuted by Migrant Workers Alleging Forced Labour for 46 Million Baht (US$1.33m)
Petition of 45, 285 International Activists Presented to Thai Poultry Association

14 Myanmar migrant farm workers alleging forced labour in a chicken farm previously contracted to supply poultry to Thai export giant Betagro today filed litigation against Betagro, a poultry farm owner and Thai government officials. The litigation claims 46 million baht (US$1.33m) in compensation and civil damages for abuses suffered by the workers for years at the poultry farm in Thailand’s Lopburi province.

45,285 signatures from international activists, gathered by a Walk Free campaign, were also simultaneously submitted to the Thai Broiler Processing Exporters Association at 11am on the 22nd floor of 313 CP Tower, Silom Road, Bangrak in Bangkok. Representatives of the 14 workers supported by STOP THE TRAFFIK, the Migrant Worker Rights Network (MWRN), Finnwatch, the Thai Labour Solidarity Committee (TLSC) and the Migrant Working Group (MWG) delivered the campaign signatures. The petition called on the poultry association to encourage their member company, Betagro, to ensure owed compensation is provided to these 14 workers. The petition also called on Betagro to investigate working conditions throughout its supply chain ensuring effective grievance mechanisms and ensuring there is no more modern day slavery.

The worker’s litigation, filed today in Saraburi Province at Region 1 Labour Court, follows a 1st August 2016 official compensation order by Lopburi Department of Labour Protection and Welfare awarding the workers 1.7 million baht (US$50, 000) in past wages. The workers consider the order insufficient in not awarding them full compensation for up to 5 years of abusive work conditions.

Workers allege grueling working days stretching to 20 hours and forced overtime including sleeping in chicken rearing areas overnight. Further, the 14 workers allege unlawful deduction of salaries, threats of further deductions, confiscation of personal identity documents and limited freedom of movement. Workers allege they left the farm only for 2 hours a week for an accompanied market visit.

Betagro has failed to respond positively to both requests to ensure emergency accommodation and living support for the workers after they resigned from the farm in late June 2016 and also to requests that adequate compensation is provided to the workers following acknowledgement it purchased from the allegedly abusive farm. Betagro pledges adherence to the UN’s Guiding Principles on Business and Human Rights, requiring companies to use their leverage to ensure rights abuses in their supply chain are appropriately remedied.

Two of the 14 workers have also been charged with multiple counts of theft from an employer, carrying up to 7 years imprisonment if found guilty, following a complaint to police by the farm owner. The complaint alleges worker time cards were removed from the employer’s possession and handed over to Lopburi Department of Labour Protection and Welfare officials as evidence of rights violations. In late June, local police arrested and detained one worker in the case who was eventually released after questioning and charge following Betagro’s provision of 75, 000 baht (US$2,200) bail. A second worker was questioned and then also charged as being involved in the theft incident in August but released without needing to provide a bail surety. Last month, MWRN petitioned the National Human Rights Commission of Thailand to review this theft charges case.

The Thai Broiler Processing Exporters Association has responded positively to pressure resulting from media coverage on this case and overseas poultry buyer’s deepening concerns on labour conditions in the sector by launching with the Department of Labour Protection and Welfare and Department of Livestock Development a Good Labour Practices (GLP) initiative for the Thai poultry industry on 19th August 2016.

Meanwhile the Director General of the Department of Labour Protection and Welfare has denied the severity of abuses alleged by the workers in this case insisting it was just a labour dispute between workers and their employer and not a case of forced labour, human trafficking, overwork or unlawful document retention.

The high profile abuse case is now drawing attention from senior Government officials and the international business and diplomatic community. This comes at a time when Thailand’s migrant worker management and protection policies as well as human trafficking record are under increased global scrutiny.

Thailand’s poultry export industry has come under scrutiny for its poor labour conditions in 2015 research reports published by corporate social responsibility watchdog groups Finnwatch and Swedwatch. International and domestic rights groups continue to be concerned at the Thai Government and Thai Poultry Industry’s lack of attention to serious labour and human rights abuses in the industry.

Betagro is one of the Thai Broiler Processing Exporters Association leading members alongside CP, GFPT, Cargill, BRF, Laemthong Poultry, Panus Poultry, Centago and Bangkok Ranch. Thailand is the world’s 4th largest poultry exporter providing chicken, often for use in processed or ready-made meals, mostly to European Union and Japanese markets.

——————————

เผยแพร่ วัน ศุกร์ที่ 2 กันยายน 2559
แรงงานข้ามชาติยื่นฟ้องบริษัทเบทาโกร ยักษ์ใหญ่อุตสาหกรรมไก่ส่งออกไทย อ้างมีการใช้แรงงานบังคับ เรียกค่าเสียหาย 46 ล้านบาท – นักกิจกรรมทั่วโลก 45, 285 ราย ร่วมลงชื่อในจดหมายร้องเรียนถึงสมาคมสัตว์ปีกไทย

วันนี่ เวลา 11.00 น. แรงงานข้ามชาติชาวพม่า 14 คน ที่ได้เข้าสู่กระบวนยื่นคำร้องต่อสำนักสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่ามีการใช้แรงงานบังคับ และการละเมิดสิทธิแรงงงาน ในฟาร์มไก่ ซึ่งเป็นห่วงโซ่อุปทานของบริษัทเบทาโกร ได้ยื่นฟ้อง บริษัทเบทาโกร เจ้าของฟาร์มไก่จังหวัดลพบุรี และเจ้าหน้าที่รัฐ ให้จ่ายค่าชดเชยความเสียหาย รวม 46 ล้านบาท ที่ศาลแรงงานภาค 1 จังหวัดสระบุรี

ในวันเวลาเดียวกัน 11.00 น. โครงการรณรงค์ Walk Free ได้รวบรวมรายชื่อ นักกิจกรรมนานาชาติ 45,285 คน ที่ร่วมลงชื่อในหนังสือที่ยื่นต่อสมาคมผู้พลิตไก่เพื่อส่งออกไทย ซึ่ง ตั้งอยู่ที่ ชั้น 22 ของ อาคารซีพี ทาวเวอร์ ถนนสีลม กรุงเทพฯ โดยมีตัวแทนของแรงงานข้ามชาติ 14 คน ที่ได้รับการสนับสนุนจากโครงการ STOP THE TRAFFIK เครือข่ายเพื่อสิทธิแรงงานข้ามชาติ ฟินน์วอทช์ คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทยและ เครือข่ายประชากรข้ามชาติ ยื่นหนังสือพร้อมรายชื่อผู้สนับสนุน เรียกร้องให้ สมาคมผู้พลิตไก่เพื่อส่งออกไทยใช้ความพยามในการช่วยเรียกร้องให้บริษัท เบทาโกร ซึ่งเป็นสมาชิกของสมาคมฯ ประกันว่าแรงงานข้ามชาติทั้ง 14 คน จะได้รับค่าชดเชยที่คงค้างจ่าย ดำเนินการตรวจสอบสภาพการทำงานตลอดห่วงโซ่อุปทาน และ มีกลไกการรับเรื่องและตรวจสอบเรื่องร้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันมิให้มีการใช้แรงงานทาสสมัยใหม่

การฟ้องคดีของแรงงานต่อศาลแรงงานภาค 1 สืบเนื่องจากสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดลพบุรี ออกคำสั่งให้นายจ้างจ่ายชดเชยค่าจ้างรวม 1.7 ล้านบาท สำหรับค่าจ้างที่ค้างจ่ายในอดีต แต่แรงงานเห็นว่าค่าชดเชยนี้ไม่เพียงพอเนื่องจากไม่ได้เป็นการชดเชยการทำงานในสภาพที่มีการละเมิดสิทธิเป็นระยะเวลาถึง 5 ปี

แรงงานอ้างว่าต้องทำงานอย่างหนักเป็นเวลานานถึง 20 ชั่วโมงต่อวัน เเละถูกบังคับให้ทำงานล่วงเวลา ต้องนอนในเล้าไก่ข้ามคืน เเละแรงงานทั้ง 14 คน อ้างด้วยว่าถูกหักเงินค่าจ้างโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ถูกขู่ว่าจะหักค่าจ้าง มีการยึดเอกสารประจำตัว และสามารถเดินทางได้จำกัดเพียงสองชั่วโมงต่อสัปดาห์ เพื่อไปตลาดโดยมีผู้ควบคุมไปด้วย

ที่ผ่านมา เบทาโกรไม่สามารถตอบสนองในเชิงบวกต่อการร้องขอ ให้ประกันว่ามีการจัด ที่พักฉุกเฉินและค่ายังชีพให้แรงงานหลังจากลาออกจากฟาร์มไก่ เมื่อปลายเดือนมิถุนายน 2559 และมีการชดเชยความเสียหายอย่างเพียงพอให้แรงงานเมื่อเบทาโกรทราบว่ามีการซื้อสินค้าจากจากฟาร์มที่อ้างว่ามีการละเมิดสิทธิ แต่เบทาโกรอ้างว่าได้ปฏิบัติตามหลักการชี้แนะขององค์การสหประชาชาติเรื่องธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ที่เรียกร้องให้บริษัทใช้อำนาจที่มีอยู่เพื่อประกันว่าจะมีการชดเชยเยียวยาเมื่อมีการละเมิดสิทธิของแรงงานในห่วงโซ่อุปทานของบริษัท อย่างเหมาะสม

นอกจากแรงงานทั้ง 14 คน ที่อ้างว่าไม่ได้สิทธิตามกฎหมายแล้ว ยังมีแรงงานถูกตั้งข้อกล่าวหาว่าลักทรัพย์นายจ้าง ซึ่งอาจจะทำให้ถูกลงโทษจำคุกสูงสุด 7 ปี หากพบว่ามีความผิดจริง เนื่องจากนายจ้างได้เข้าแจ้งความกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ ว่า บัตรลงเวลาปฏิบัติงาน ได้ถูกเอาไปจากการครอบครองของนายจ้าง ซึ่งบัตรลงเวลาปฏิบัติงานนั้นได้ถูกส่งมอบให้เจ้าหน้าที่สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานลพบุรีเป็นหลักฐานว่ามีการละเมิดสิทธิของคนงาน หลังจากที่นายจ้างแจ้งความลูกจ้างแล้ว เจ้าหน้าที่ตำรวจจึงได้ทำการจับกุม และควบคุมตัวแรงงานคนหนึ่งในช่วงปลายเดือนมิถุนายน หลังจากที่แรงงานได้รับทราบข้อกล่าวหาและให้การต่อพนักงานสอบสวนแล้ว บริษัทเบทาโกรได้จ่ายเงิน 75, 000 บาท เพื่อเป็นหลักทรัพย์ในใช้การประกันตัวแรงงานที่ถูกตั้งข้อกล่าวหา ต่อมาในเดือนสิงหาคม เจ้าหน้าที่ตำรวจได้ตั้งข้อหาแรงงานเพิ่มอีกหนึ่งรายว่า สมรู้ร่วมคิดในการลักทรัพย์ของนายจ้าง หลังจากที่แรงงานคนที่สองถูกตำรวจกล่าวหาแล้วก็ได้รับการปล่อยตัวโดยไม่ต้องใช้หลักประกัน ในเดือนสิงหาคม เครือข่ายเพื่อสิทธิแรงงานข้ามชาติ (MWRN) พร้อมกับตัวแทนของแรงงาน 14 คน ยื่นหนังสือ ร้องเรียนต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เพื่อเรียกร้องให้มีการตรวจสอบกรณีนายจ้างกล่าวหาลูกจ้างว่าหาลักทรัพย์ของนายจ้าง

สมาคมผู้พลิตไก่เพื่อส่งออกไทยมีการตอบสนองในทางบวกต่อแรงกดดันที่เกิดจากการรายงานข่าวจากสื่อมวลชนในกรณีนี้ และผู้ซื้อสัตว์ปีกในต่างประเทศมีความกังวลลึก ๆ เรื่องสภาพแรงงานในภาคอุตสาหกรรมนี้ สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทยจึงได้มีการเปิดตัววิธีปฎิบัติที่ดีด้านแรงงาน (Good Labour Practice: GLP) ร่วมกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานและกรมปศุสัตว์ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2559
อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้เคยให้สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชน ต่อปัญหาของแรงงานชาวพม่าทั้ง 14 คนว่า มิได้มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นรุนแรง แต่เป็นกรณีของข้อพิพาททางแรงงานระหว่างคนงานกับนายจ้าง มิใช่เป็นกรณีของการใช้แรงงานบังคับ การค้ามนุษย์ การทำงานเกินช่วงเวลาทำงานหรือลูกจ้างถูกยึดเอกสารไปโดยมิชอบด้วยกฎหมาย

กรณีการละเมิดสิทธิของแรงงานข้ามชาติ 14 รายนี้ ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากทั้งจากเจ้าหน้าที่รัฐระดับสูง ธุรกิจระหว่างประเทศ วงการการทูตและประชาคมนานาชาติ เนื่องจากการละเมิดสิทธิของคนงานกลุ่มนี้เกิดขึ้นในช่วงเวลาประชาคมโลกตรวจสอบการจัดการแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย นโยบายการคุ้มครองแรงงาน เช่นเดียวกับประวัติการค้ามนุษย์ของไทย

อุตสาหกรรมส่งออกสัตว์ปีกไทยได้อยู่ภายใต้การตรวจสอบด้านเงื่อนไขการจ้างงานที่ไม่ดีนัก ตั้งแต่ พ.ศ. 2558 รายงานการวิจัยที่ตีพิมพ์โดยกลุ่มตรวจสอบความรับผิดชอบต่อสังคม คือ ฟินน์วอทช์และ สเวดวอทช์ กลุ่มสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศและภายในประเทศยังคงมีความกังวลที่รัฐบาลไทยและอุตสาหกรรมสัตว์ปีกไทยขาดความสนใจเรื่องการละเมิดสิทธิแรงงานและสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงในอุตสาหกรรม

เบทาโกรเป็นหนึ่งในสมาชิกสมาคมผู้ส่งออกไก่เนื้อแปรรูปไทย เช่นเดียวกับสมาชิกชั้นนำ เช่น CP, GFPT, Cargill, BRF แหลมทองสัตว์ปีก พนัสสัตว์ปีก เซนทราโก และบางกอกแร้นช์ชั้นนำ ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกสัตว์ปีกใหญ่รายใหญ่ที่สุดลำดับ 4 ของโลก ที่ใช้ในอาหารแปรรูปหรืออาหารสำเร็จรูป ส่วนใหญ่ส่งออกไปสหภาพยุโรปและตลาดญี่ปุ่น